สัปดาห์ที่
|
หัวข้อ |
ศึกษาทั่วไป |
หมายเหตุ |
Slide |
เอกสาร |
แบบทดสอบ |
1 |
บทที่ ๑ บทนำการประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูล MCS-51 ตอนที่ 1 -สถาปัตยกรรมไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูล MCS-51 -การจัดแบ่งหน่วยความจำของ MCS-51 -รีจีสเตอร์ (Register) หรือตัวแปร -คำอธิบาย Special Function Register : SFR -กลุ่มคำสั่งการโอนย้ายข้อมูล |

|

|

|
|
2 |
บทที่ ๒ บทนำการประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูล MCS-51 ตอนที่ 2 -กลุ่มคำสั่งการกระทำทางคณิตศาสตร์ -กลุ่มคำสั่งการกระทำทางลอจิก -กลุ่มคำสั่งการกระทำครั้งละบิต -กลุ่มคำสั่งการกระโดด -โปรแกรมย่อยหน่วงเวลา |
|

|
|
|
3 |
บทที่ ๓ การรับ-ส่งข้อมูลผ่านทางพอร์ตของ IC 8255 -สถาปัตยกรรมของ IC 8255 -โปรแกรมป้อนค่าที่ต้องการ (Set Point) ตั้งแต่ 00H-99H จากสวิตช์อินพุต |
|
|

|
|
4 |
บทที่ ๔ โปรแกรมย่อยการรับ-ส่งข้อมูลแบบกวาดผ่านทาง IC 8255 -โปรแกรมย่อยรับข้อมูลแบบกวาด (Scan Keyboard) -โปรแกรมย่อยแสดงผลแบบกวาด (Scan Display) |
|

|
|
|
5 |
บทที่ ๕ โปรแกรมย่อยแสดงผลตัวอักษรวิ่งผ่านทาง IC 8255 -โปรแกรมย่อยแสดงผลตัวอักษรวิ่ง |
|
|
|
|
6 |
บทที่ ๖ โปรแกรมนาฬิกา -โปรแกรมย่อยเปลี่ยนค่าเวลาจริงให้เป็นรูปแบบการแสดงผล (Converse) -โปรแกรมย่อยแสดงเวลาจริง 1 วินาที (Display) -โปรแกรมย่อยเพิ่มค่าเวลาจริง 1 วินาที (Increment) |
|

|
|
|
7 |
สอบกลางภาค
|
|
|
|
|
8 |
บทที่ ๗ การเชื่อมต่อกับอินพุตพอร์ตของ MCS-51 -การออกแบบวงจรการอ่านค่าจากอินพุตพอร์ตของ MCS-51 -โปรแกรมควบคุม LED ให้แสดงผลในรูปแบบที่ขึ้นอยู่กับการกดสวิตช์เลือก -โปรแกรมนับจำนวน Clock ของสัญญาณอินพุตจากตัวตรวจจับความเร็วมอเตอร์แสดงผลที่ LED -โปรแกรมรับค่าอินพุตจาก Keypad 4x3 โดยแสดงผลที่ LED |
|

|
|


|
9 |
บทที่ ๘ การเชื่อมต่อกับตัวแสดงผลแบบ 7 ส่วน (7 Segments Display) -การออกแบบวงจรการเชื่อมต่อกับตัวแสดงผลแบบ 7 ส่วน (7 Segments Display) -โปรแกรมควบคุมไฟจราจรโดยมีการบอกเวลานับลงที่ 7 Segments Display -โปรแกรม Scan Display 4 หลักโดยมีสวิตช์กำหนดการทำงาน 3 ตัว |

|

|
|

|
10 |
บทที่ ๙ การเชื่อมต่อกับตัวแสดงผลแบบจุดที่มีการต่อแบบเมตริกซ์ (Dot Matrix Display) -การออกแบบวงจรการเชื่อมต่อกับ Dot Matrix Display -โปรแกรมควบคุม Dot Matrix Display ชนิด 3 สี -โปรแกรมควบคุม Dot Matrix Display ชนิด 8×32 |
|

|
|
|
11 |
บทที่ ๑๐ การเชื่อมต่อกับตัวแสดงผลแบบผลึกเหลว (Liquid Crystal Display : LCD) -การออกแบบวงจรการเชื่อมต่อกับ LCD -โปรแกรมแสดงผลตัวอักษร 2 บรรทัด ตามรหัส ASCII -โปรแกรมแสดงผลตัวอักษร 4 บรรทัด ตามรหัส ASCII -โปรแกรมแสดงผลตัวอักษร 2 บรรทัด ตามข้อมูลที่กำหนดขึ้นเองในโหมด CGRAM |

|
|
|

|
12 |
บทที่ ๑๑ การเชื่อมต่อกับตัวกำเนิดเสียง (Buzzer) และตัวทำความร้อน (Heater) -การออกแบบวงจรการเชื่อมต่อกับ Buzzer และ Heater -โปรแกรมควบคุม Buzzer และ Heater -โปรแกรมควบคุม Buzzer และ Heater โดยมีการตรวจสอบรหัสผ่าน |

|

|

|
|
13 |
บทที่ ๑๒ การเชื่อมต่อกับมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC Motor) -การออกแบบวงจรการเชื่อมต่อกับ DC Motor -โปรแกรมควบคุม DC Motor -โปรแกรมควบคุมความเร็วรอบของ DC Motor ด้วยการตั้งค่าจากคีย์แพ็ด |

|

|

|



|
14 |
บทที่ ๑๓ การเชื่อมต่อกับสเตปปิ้งมอเตอร์ (Stepping Motor) -การออกแบบวงจรการเชื่อมต่อกับ Stepping Motor -โปรแกรมควบคุมการทำงานของ Stepping Motor -โปรแกรมควบคุมจำนวนรอบการหมุนของ Stepping Motor ตามค่าที่ตั้งจากคีย์แพ็ด |

|

|
|
|
15 |
บทที่ ๑๔ การใช้งานไอซีแปลงสัญญาณระหว่างอนาลอกกับดิจิตอล (IC DAC/ADC) -การออกแบบวงจรการใช้งาน IC DAC/ADC (Digital to Analog Converter/Analog to Digital Converter) -การออกแบบวงจรการเชื่อมต่อกับไอซีตรวจจับอุณหภูมิ LM335 -โปรแกรมสร้างสัญญาณ Wave Form ต่าง ๆ จาก IC DAC -โปรแกรมตรวจสอบการทำงานของ IC DAC/ADC -โปรแกรมควบคุมอุณหภูมิตามค่าที่ต้องการจากการตั้งค่าที่คีย์แพ็ค |
|
|
|


|
16 |
บทที่ ๑๕ การใช้งานไอซีสร้างฐานเวลาจริง DS1307 -การออกแบบวงจรการใช้งานไอซีสร้างฐานเวลาจริง -โปรแกรมนาฬิกาโดยใช้ IC DS1307 -โปรแกรมควบคุมการทำงานของหลอดไฟ 220V ตามเวลาที่กำหนดโดย IC DS1307 -สรุป |
|
|
|
|
17 |
สอบปลายภาค |
|
|
|
|